บ้านกัลยาณมิตรพาชีวิตสว่างไสว
ธรรมอย่างหนึ่งที่มีอุปการะมาก ที่เป็นไปเพื่อความเกิดขึ้นแห่งอริยมรรค อันประกอบด้วยองค์ ๘ คือความเป็นกัลยาณมิตร เพราะบุคคลผู้มีกัลยาณมิตร พึงหวังได้ว่า จักเจริญในอริยมรรคมีองค์ ๘ และจะกระทำให้มากในอริยมรรคนั้น ซึ่งเป็นเหตุปัจจัยในการบรรลุพระนิพพาน
ของจริงต้องคู่กับคนจริงนั้นเป็นอย่างไร
ข้อความที่ว่า “ของจริงต้องคู่กับคนจริง” นั้นเป็นอย่างไร? ทำไมบางคนเข้าวัดปฏิบัติธรรม สวดมนต์นั่งสมาธิไม่เคยขาด แต่ยังไม่เข้าถึงพระธรรมกายบางคนกว่าจะชวนเข้าวัดได้ก็แสนยาก แต่พอมานั่งสมาธิกลับเข้าถึงพระธรรมกายได้ง่าย ๆ
สองพระมหากษัตริย์....ร่มฉัตรปกแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร์รัชกาลที่ ๘ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติในระบอบประชาธิปไตย
ศีลคือตัวคูณ บริสุทธิ์มากได้บุญมาก
ศีล อุปมาเหมือนชันที่ใช้อุดรอยรั่วของภาชนะ สิ่งที่จะรองรับบุญนั้น คือ ใจ เมื่อศีลพร่องก็เหมือนกับภาชนะมีรอยรั่ว
ท้าวสักกะจอมเทพ
ท้าวสักกจอมเทพในชั้นดาวดึงส์นั้น กระทำบุญกิริยาวัตถุที่สำเร็จด้วยทานเป็นอดิเรก ทำบุญกิริยาวัตถุที่สำเร็จด้วยศีลเป็นอดิเรก ย่อมก้าวล่วงพวกเทวดาชั้นดาวดึงส์โดยฐานะ ๑๐ ประการ คือ อายุทิพย์ วรรณะทิพย์ สุขทิพย์ ยศทิพย์ อธิปไตยทิพย์ รูปทิพย์ เสียงทิพย์ กลิ่นทิพย์ รสทิพย์ และโผฏฐัพพทิพย์
อานิสงส์ถวายนมสด
บุญนิธินั้น ให้สมบัติน่าใคร่ทุกอย่างแก่ทวยเทพและมนุษย์ ปรารถนาผลใดๆ ผลนั้นๆ ทั้งปวง ย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น ความเป็นผู้มีวรรณะงาม ความเป็นผู้มีเสียงไพเราะ ความมีทรวดทรงสมส่วน ความเป็นผู้มีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร ผลทั้งปวงย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
พระอรหันต์รู้ได้ยาก
พระอริยบุคคลเหล่าใดในศาสนาของพระโคดม เป็นผู้ประกอบดีแล้ว ด้วยกิริยาทางกายและวาจาอันบริสุทธิ์ มีใจมั่นคง เป็นผู้ไม่มีความห่วงใยในกายและชีวิต พระอริยบุคคลเหล่านั้น บรรลุอรหัตผลที่ควรบรรลุ หยั่งลงสู่อมตนิพพาน ดับกิเลสได้ เสวยผลแห่งความดับเย็นอยู่
นกน้อยผู้มีจิตเลื่อมใส
“เอวํ อจินฺติยา พุทฺธา พุทฺธธมฺมา อจินฺติยา อจินฺติเยสุ ปสนฺนานํ วิปาโก โหตฺยจินฺติโย พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าและพระคุณของพระองค์ก็เป็นอจินไตยเช่นกัน” (ขุททกนิกาย อปทาน)